Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
เกี่ยวกับคณะ
ข้อมูลพื้นฐานคณะ
จดหมายเหตุ คณะสังคมศาสตร์
วิสัยทัศน์/พันธกิจ/เป้าหมาย/ค่านิยม
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการอำนวยการ
คณะผู้บริหาร
คณาจารย์
บุคลากรสนับสนุน
การรับเข้าศึกษาต่อ
ปริญญาตรี
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาเซียนศึกษา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
บัณฑิตศึกษา
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสตรีศึกษาและเพศภาวะศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)
ภาควิชา
ภาควิชาภูมิศาสตร์
ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ภาควิชาสังคมศาสตร์กับการพัฒนา
ภาควิชาสตรีศึกษา
ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ
วิจัยและบริการวิชาการ
ศูนย์วิจัย
โครงการวิจัย
บริการวิชาการ
รายงานการวิจัย
พบปะนักวิจัย
Global Connect
ASEAN Travelling
Student Exchange
Academic Exchange
Field School
Collaborative Research
e-Service
บริการบุคคลภายนอก
บริการของเรา
สำหรับนักศึกษา
ข่าวประชาสัมพันธ์สำหรับนักศึกษา
ประกาศ/เอกสาร/แบบฟอร์มสำหรับนักศึกษา
สำหรับคณาจารย์และเจ้าหน้าที่
ประกาศ/เอกสาร/แบบฟอร์มสำหรับอาจารย์
ประกาศ/เอกสาร/แบบฟอร์มสำหรับเจ้าหน้าที่
คู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการปฏิบัติงาน
สำหรับศิษย์เก่า
ข่าวสารศิษย์เก่า
ระบบ e-Donation
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวประชาสัมพันธ์ทั่วไป
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ข้อมูลสาธารณะ
ข้อมูลสาธารณะ ITA
รายงานประจำปี
รายงานส่งมอบ
วิชาการเพื่อสังคม
วารสารสังคมศาสตร์
วารสารจุดยืน
เครือข่ายบทความทางเศรษฐศาสตร์การเมือง
สิ่งพิมพ์ออนไลน์
ระบบจำหน่ายหนังสือออนไลน์ คณะสังคมศาสตร์
×
ค้นหา
ไทย
English
Hello
Let's be friends.
Get latest update for our trusted applications
subscribe
25 ก.พ. 2565
หน่วยประชาสัมพันธ์
โครงการอบรมระยะสั้น “Sociology and Anthropology of Northern Thailand and Upper Mekong – Spring Semester 2022” (USAC programs) กลุ่ม “Highland Ethnic Peoples” ภายใต้ CMU School of Lifelong Education
เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2565 รองศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว นำนักศึกษาจากโครงการอบรมระยะสั้น “Sociology and Anthropology of Northern Thailand and Upper Mekong – Spring Semester 2022” (USAC programs) กลุ่ม “Highland Ethnic Peoples” ภายใต้ CMU School of Lifelong Education เยี่ยมชมและศึกษาเรียนรู้ “ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่สาใหม่” และ “บ้านม้งแม่สาใหม่” ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
.
“ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่สาใหม่” ได้ก่อตั้งขึ้นราวปี พ.ศ.2517 และได้นำเข้าพืชผลเมืองหนาว โดยเฉพาะ ลิ้นจี่ ให้ชาติพันธุ์ชาวม้งปลูกแทนฝิ่น โดยในช่วงแรก ๆ ชาวบ้านยังไม่มั่นใจในผลผลิตและรายได้ทางเศรษฐกิจ จนกระทั่ง ลิ้นจี่ กลายมาเป็นพืชเศรษฐกิจหลักในพื้นที่ ชาวบ้านจึงเริ่มปลูกลิ้นจี่แทนฝิ่นมากขึ้น และราว พ.ศ.2525 ก็เลิกปลูกฝิ่นกันถาวร พร้อมกันนี้ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่สาใหม่ ได้นำเข้าพืชผลเมืองหนาวชนิดอื่น ๆ เข้ามาทดลองและปรับแต่งพันธุ์เพื่อให้เจริญเติมโตและสามารถสร้างผลผลิตทางเกษตรได้ในพื้นที่ ก่อนที่จะนำไปเผยแพร่และส่งเสริมให้ชาวบ้านปลูก พร้อมทั้งรับซื้อผลผลิตจากชาวบ้านตามพันธะสัญญา ตัวอย่างพืชผลที่สำคัญ เช่น มันฝรั่ง สตรอว์เบอร์รี อโวคาโด และล่าสุดพริกเม็กซิกัน ปัจจุบัน ชาวม้งบ้านแม่สาใหม่ (ไม่รวมแม่สาน้อย) มีอยู่ราว 400 กว่าครัวเรือน ประชากรราว ๆ 2000 กว่าคน ส่วนมากมีรายได้จาก “สวนเกษตร” หรือในชาวบ้านที่มีทำกิจไม่มาก จะทำอาชีพโดย “การปลูกพืชหมุนเวียน” โดยช่วงราว พ.ศ.2550 ธุรกิจโฮมสเตย์ และการท่องเที่ยวเชิงเกษตร หรือ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) กระจายอยู่ในพื้นที่อำเภอแม่ริม เป็นวงกว้าง และชาวบ้านในพื้นที่บ้านแม่สาใหม่ก็เริ่มหันมาทำธุรกิจโฮมสเตย์มากขึ้น ควบคู่ไปกับการทำการเกษตรเดิม
โครงการจัดประชุม/สัมมนา/ฝึกอบรม(นานาชาติ)
โครงการวิจัยบูรณาการข้ามศาสตร์(นานาชาติ)
การเรียนการสอนเพื่อชุมชน
โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา(Mibility Program)
1922 Views
ภาพประกอบ
Share
Tweet
Email
Line