Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
เกี่ยวกับคณะ
ข้อมูลพื้นฐานคณะ
จดหมายเหตุ คณะสังคมศาสตร์
วิสัยทัศน์/พันธกิจ/เป้าหมาย/ค่านิยม
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการอำนวยการ
คณะผู้บริหาร
คณาจารย์
บุคลากรสนับสนุน
การรับเข้าศึกษาต่อ
ปริญญาตรี
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาเซียนศึกษา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
บัณฑิตศึกษา
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศศาสตร์
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสตรีศึกษาและเพศภาวะศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)
ภาควิชา
ภาควิชาภูมิศาสตร์
ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ภาควิชาสังคมศาสตร์กับการพัฒนา
ภาควิชาสตรีศึกษา
ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ
วิจัยและบริการวิชาการ
ศูนย์วิจัย
โครงการวิจัย
บริการวิชาการ
รายงานการวิจัย
พบปะนักวิจัย
Global Connect
ASEAN Travelling
Student Exchange
Academic Exchange
Field School
Collaborative Research
e-Service
บริการบุคคลภายนอก
บริการของเรา
สำหรับนักศึกษา
ข่าวประชาสัมพันธ์สำหรับนักศึกษา
ประกาศ/เอกสาร/แบบฟอร์มสำหรับนักศึกษา
สำหรับคณาจารย์และเจ้าหน้าที่
ประกาศ/เอกสาร/แบบฟอร์มสำหรับอาจารย์
ประกาศ/เอกสาร/แบบฟอร์มสำหรับเจ้าหน้าที่
คู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการปฏิบัติงาน
สำหรับศิษย์เก่า
ข่าวสารศิษย์เก่า
ระบบ e-Donation
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวประชาสัมพันธ์ทั่วไป
ข่าวรับสมัครงาน
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ข้อมูลสาธารณะ
ข้อมูลสาธารณะ ITA
รายงานประจำปี
รายงานส่งมอบ
วิชาการเพื่อสังคม
วารสารสังคมศาสตร์
วารสารจุดยืน
เครือข่ายบทความทางเศรษฐศาสตร์การเมือง
สิ่งพิมพ์ออนไลน์
ระบบจำหน่ายหนังสือออนไลน์ คณะสังคมศาสตร์
×
ค้นหา
ไทย
English
Hello
Let's be friends.
Get latest update for our trusted applications
subscribe
2 ก.ค. 2564
หน่วยประชาสัมพันธ์
บทความวิจัย “Impacts of the COVID-19 pandemic response on aquaculture farmers in five countries in the Mekong Region ได้รับการตีพิมพ์
บทความวิจัย เรื่อง “Impacts of the COVID-19 pandemic response on aquaculture farmers in five countries in the Mekong Region (ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 และการปรับตัวของเกษตรกรเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำใน 5 ประเทศ ลุ่มแม่น้ำโขง)” ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร Aquaculture Economics & Management ( Volume 25 Issue 2 ปี 2021) โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลิวา ผาดไธสง ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสต์ เป็นผู้ร่วมวิจัย (Co-Author) คณะผู้ทำวิจัย ประกอบด้วย Louis Lebel, Khin Maung Soe, Nguyen Thanh Phuong, Hap Navy, Phouvin Phousavanh,Tuantong Jutagate, Phimphakan Lebel, Michael Akester & Boripat Lebel
บทคัดย่อ :
มาตรการด้านสาธารณสุขที่มุ่งเน้นการลดการแพร่ระบาดของ COVID-19 อาจส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อการดำรงชีวิต จากการศึกษาได้ทำการประเมินผลกระทบจากการปรับตัวเพื่อรับมือกับการแพร่ระบาดของ COVID-19 ของเกษตรกรเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำใน 5 ประเทศ ลุ่มแม่น้ำโขง
จากกลุ่มประชากรตัวอย่าง เกษตรกรทั้งหมด 1,019 ราย (มิถุนายน–สิงหาคม 2020) การแพร่ระบาดของ COVID-19 ทำให้การดำเนินงานของเกษตรกร ต้องชะลอหรือหยุดชะงักลง การผลิต การนำเข้า การกระจายสินค้าและความต้องการของผู้บริโภคที่ลดลง ซึ่งทำให้ผลกำไรสุทธิลดลงและเพิ่มโอกาสในการขาดทุนเพิ่มมากขึ้น ในช่วงครึ่งแรกของปี 2020. ฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำขนาดใหญ่มีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบกว่าฟาร์มขนาดเล็ก จากปัจจัยราคาวัตถุดิบที่สูงขึ้นและราคาปลาที่ลดลง ฟาร์มเชิงพาณิชย์มีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบจากการหยุดชะงักของระบบขนส่งของวัตถุดิบและพ่อค้าคนกลาง
การปรับตัวต่อของเกษตรกร ได้มีการปรับวิธีการปฏิบัติ เช่น การลดปริมาณการเก็บวัตถุดิบ ลดการใช้แรงงาน หาตลาดใหม่ ใช้เงินออม และกู้ยืมเงิน โดยฟาร์มขนาดใหญ่มีแนวโน้มที่จะปรับตัวโดยการหาตลาดใหม่และการกู้ยืมเงิน จากเงื่อนไขการกู้เงินที่ง่ายขึ้นและการแจกเงินโดยตรงจากรัฐบาลที่ช่วยในบางพื้นที่และเป็นที่ต้องการของพื้นที่อื่นๆ ความแตกต่างที่มีนัยสำคัญระหว่างประเทศในด้านผลกระทบและการตอบสนอง สะท้อนให้เห็นถึงการพึ่งพาของตลาดและการค้า ตลอดจนความสามารถของรัฐบาลและความตั้งใจที่จะช่วยเหลือหรือสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
อ่านบทความวิจัย : https://www.tandfonline.com/doi/full/10.1080/13657305.2021.1946205
โครงการวิจัยบูรณาการข้ามศาสตร์(นานาชาติ)
กิจกรรม/ผลงานคณาจารย์(นานาชาติ)
COVID-19
971 Views
Share
Tweet
Email
Line