Hello

Let's be friends.
Get latest update for our trusted applications

คณาจารย์ คณะสังคมศาสตร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อริยา เศวตามร์

อริยา เศวตามร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.


ภาควิชาสตรีศึกษา
คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ariya.sv@cmu.ac.th
0 5394 3572

  • Ph.D. (Social Science), Chiang Mai University, 2010
  • MA. (Social Development), Chiang Mai University, 1999
  • B.A. (French), Silpakorn University, 1979
  • ปรัชญาสตรีนิยม
  • ทฤษฎีสตรีนิยม 1
  • ทฤษฎีสตรีนิยม 2
  • สตรีศึกษาในลักษณะวิธีทฤษฎีวิพากษ์
  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแนวคิดสตรีนิยม
  • ผู้หญิงในมิติทางสังคมและวัฒนธรรม
  • เพศภาวะกับสังคม
  • เพศภาวะกับภาษา
  • เพศภาวะกับศาสนา

  • สตรีศึกษาและเพศภาวะศึกษา
  • มานุษยวิทยาศาสนา ศาสนาชาวบ้าน (Popular religion) ในบริบทสมัยใหม่
  • วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน
  • ทฤษฎีสังคมวัฒนธรรมร่วมสมัย และทฤษฎีการพัฒนา โดยเฉพาะการพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชน

  • อริยา เศวตามร์. (2542). การสร้างความหมายเกี่ยวกับชุมชนในกระบวนการผ้าป่าข้าว ภายใต้บริบทของงานพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชนในจังหวัดพะเยา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หน้า 1-166.
  • อริยา เศวตามร์ และคณะ (2547). การสื่อสารความหมายการพัฒนาระหว่างชาวบ้าน:  กรณีศึกษากองทุนชุมชน “เครือข่ายกองบุญข้าว” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). หน้า 1-278.
  • อริยา เศวตามร์ และคณะ. (2557). การพนันภาคเหนือตอนบน: การพนันในแนวคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองในมุมมองสตรีนิยม สนับสนุนโดยศูนย์วิจัยปัญหาการพนัน คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 1-157.
  • อริยา เศวตามร์. (2558). การช่วงชิงพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์และการครอบงำเชิงสัญลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่หงีในบริเวณชุมชนชายแดนไทย-พม่า สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. หน้า 1-98.
  • ยศ สันตสมบัติ, อารตี อยุทธคร และอริยา เศวตามร์. (2562). เครือข่ายข้ามแดนและการสร้างอัตลักษณ์ของชุมชนชาวอินเดียในเชียงใหม่. สนับสนุนโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.  หน้า 1-239.
  • ศิวพร สุกฤตานนท์, อริยา เศวตามร์ และรังสิมา วิวัฒน์วงศ์วนา. (2562). โอกาสที่เท่าเทียมและสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยกับสตรีในประชาคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 1-177.
  • ศิวพร สุกฤตานนท์ และอริยา เศวตามร์. (2563). โอกาสที่เท่าเทียมและเงื่อนไขที่เอื้ออำนวยต่อการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศในประชาคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะที่ 2. ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 1-141.
  • อริยา เศวตามร์ และคณะ. (2564). ผู้หญิงกับบทบาทในการจัดหาและเตรียมอาหารให้กับผู้สูงอายุในมิติสังคมวัฒนธรรม. สนับสนุนโดยกองทุนพัฒนาวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (อยู่ในระหว่างดำเนินการ).
  • อริยา เศวตามร์ และคณะ. (2564). ผู้หญิงชาติพันธุ์กับการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม. สนับสนุนโดยหน่วยสนับสนุนวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.). (อยู่ในระหว่างดำเนินการ).