เก่งกิจ กิติเรียงลาภ

รองศาสตราจารย์ ดร.

ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

kkengkij@gmail.com

การศึกษา
  • Ph.D. in Comparative Politics, Chulalongkorn University, Thailand
  • B.A. (2nd Class Honor) in Political Science, Chulalongkorn University, Thailand
การสอน

ระดับปริญญาโท

  • สังคมวิทยากับการพัฒนาภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Sociology and Development in Southeast Asia)
  • ทฤษฎีสังคมศาสตร์ (Social Sciences Theories)
  • ทฤษฎีสังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural Theories)
  • สัมมนาประเด็นปัญหาร่วมสมัยทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Seminar on Current Issues in Sociology and Anthropology)
  • สัมมนาปฏิบัติการในงานวิจัยทางสังคม (Seminar on the Practice of Social Research)

ระดับปริญญาตรี

  • สังคมวิทยาว่าด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Sociology of Science and Technology)
  • ทฤษฎีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาร่วมสมัย (Contemporary Sociological and Anthropological Theories)
  • ทักษะการอ่านและการเขียนทางสังคมศาสตร์ (Reading and Writing Skills in Social Sciences)
  • ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในอุษาคเนย์ (Social Movements in Southeast Asia)


หัวข้อวิจัยที่สนใจ
  • Social Theory
  • Labour and Labour Organization
  • Culture of Capitalism,Marxism
ผลงานวิชาการ/วิจัย
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ และพัชรีพร เทพนำชัย. (2561). “แรงงานข้ามชาติในฐานะพลเมืองทางเศรษฐกิจ: อุปสรรคการเข้าถึงสวัสดิการสังคมในพื้นที่แม่สอด,” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 14(1) (มกราคม-มิถุนายน 2561), หน้า 99-118.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2560). “สถาบันความรู้ด้านไทยศึกษาและมานุษยวิทยาแบบอเมริกันในประเทศไทย.” ใน ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ บก., ความ(ไม่)เป็นสมัยใหม่: ความเปลี่ยนแปลงและความย้อนแย้งของไทย. กรุงเทพฯ: ศยาม. หน้า 147-166.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2559). “จักรวรรดิอเมริกันกับกำเนิดของสาขาวิชามานุษยวิทยาในประเทศไทย.” ใน วรารักษ์ เฉลิมพันธุศักดิ์ บก., ความเชื่อมโยงที่มากกว่ากายภาพ: พลังผลัก (ที่อ่อนเบา) ของมรดกทางประวัติศาสตร์และแง่มุมทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์อาเซียนและการระหว่างประเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. หน้า 121-149.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2559). “มานุษยวิทยาจักรวรรดิ: การสร้างหมู่บ้านชนบทไทยในยุคสงครามเย็น,” รัฐศาสตร์สาร, 37(3) (กันยายน-ธันวาคม 2559). หน้า 99-149.

ผลงานตีพิมพ์
บทความทางวิชาการ
  • Kengkij Kitirianglarp. (2018). “Thailand Mapped: A New History of the Geo-Body of a Nation” New Mandala Online (4 May 2018) http://www.newmandala.org/thailand-mapped-new-history-geo-body-nation/ 
  • Kengkij Kitirianglarp. (2017). “Chiangmai: The Future of the Creative Economy in Thailand,” in Pavin Chachavalpongpun ed., The Blooming Years: Kyoto Review of Southeast Asia. Kyoto: Center for Southeast Asian Studies, Kyoto University, pp. 433-437.
  • Kengkij Kitirianglarp. (2016). “American Empire and the Birth of Anthropology in Thailand: The Case of Suthep Soonthornpasuch,” in Wararak Chalermpuntusak ed., More than Geographical Connectivity: A (subtly) driving force from historical legacies and cultural aspects. Centre for ASEAN and International Studies, Sukhothai Thammathirat Open University. pp. 81-105.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2562). “ความรู้และการเก็บรวบรวมเอกสารในฐานะการปกครอง,” ใน ประทีป สุธาทองไทย, ประเทศเล็กที่สมบูรณ์. กรุงเทพฯ: 100 ต้นสน แกลเลอรี่. หน้า 93-104.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2562). “โลก ความจริง และการเมือง: ภววิทยาแห่งความหลากหลายและโลกกับการเปลี่ยนโลกในความคิดของอแลง บาดิยู,” ใน คงกฤช ไตรยวงศ์ บก., On Truth: ว่าด้วยความจริง. กรุงเทพฯ: Illuminations Editions. หน้า 21-53.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2561). ‘รัฐ กูเกลียดมึง!’: (จาก) Pierre Clastres และ James C. Scott (ถึงธเนศ วงศ์ยานนาวา)” ใน ธเนศ วงศ์ยานนาวา และเพื่อน, ครอบครัวจินตกรรม: บทวิพากษ์ว่าด้วยชุมชน การปกครอง และรัฐ. กรุงเทพฯ: Illuminations Editions. หน้า 163-195.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2561). “บทตอบแบบย่นย่อต่อข้อวิจารณ์ของธนภาษต่อ ‘แผนที่สร้างชาติ’,” ฟ้าเดียวกัน, 16(2) (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561). หน้า 195-201.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2561). “สตรีนิยมหลังออโตโนเมีย: เพศ ชาติ เชื้อชาติ และจินตนาการว่าด้วยสังคมหลังงาน,” ใน ชัยพงษ์ สำเนียง และสมพงศ์ อาษากิจ บก., ข้ามพ้นกับดักคู่ตรงข้าม: ไทศึกษา ล้านนาคดี ประวัติศาสตร์ และมานุษยวิทยา. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หน้า 369-410.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2560). “อวัตถุศาสตร์ การผลิตอวัตถุ การสร้างสรรค์ของมนุษย์ และการควบคุมของทุน,” ใน ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ บก., โพ้นพรมแดนความรู้. เชียงใหม่: สาขาวิชาสื่อ ศิลปะ และการออกแบบสื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หน้า 42-72.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2560). “โลกใหม่จะเกิดได้อย่างไร: ภววิทยาแห่งความหลากหลายและโลกกับการเปลี่ยนโลกในความคิดของอแลง บาดิยู”. รัฐศาสตร์สาร, 38(3) (กันยายน-ธันวาคม 2560), หน้า 159-182.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2559). “การกลับมาของ Antonio Negri: ว่าด้วยการตีความ Spinoza จากมุมมองมาร์กซิสต์ ทุนนิยม และโครงการทางการเมืองของคอมมิวนิสต์”.  ใน คงกฤช ตรัยวงศ์ และธนภาษ  เดชาพาวุฒิกุล (บก.). ความหวังกับจินตนาการทางมนุษยศาสตร์. กรุงเทพฯ: ศยาม. หน้า 341-377.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2559). “Franco ‘Bifo’ Berardi กับทฤษฎีว่าด้วยการแตกกระจายของเวลา ความป่วยทางจิตในระบบทุนนิยมสัญญะ และการปลดปล่อยแบบจิตเภท”. รัฐศาสตร์สาร, 37(2): 76-116.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2559). “เทคโนโลยีการทำแผนที่ในยุคสงครามเย็นกับกำเนิดแผนที่สมัยใหม่ของชาติในประเทศไทย”. วารสารสื่อ ศิลปะ และการออกแบบสื่อ, 1(2): 31-74.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ และกาญจนานนท์ สันติสุข. (2558). “การเมืองชีวิต: ความสัมพันธ์ของการเมืองและชีวิตในงานของ Foucault, Agamben และ Deleuze”. อาเซียนปริทัศน์, (1): 79-119.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2558). “จาก ‘มดลูกก็ปัจจัยการผลิต’ ถึงกำเนิดภาคบริการในระบบทุนนิยม: การผลิตซ้ำ งานบ้าน และผู้หญิงในทฤษฎีมาร์กซิสต์ออโตโนเมีย”. รัฐศาสตร์สาร, 36(3): 1-31.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2558). “‘ชีวิต’: Gilles Deleuze กับฐานคิดของโพสฮิวแมนนิสม์”. Vice Versa, (1): 173-187.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2558). “ปัญหาว่าด้วย ‘ชนชั้นกลางๆ’ ในทฤษฎีมาร์กซิสต์ กับ มโนทัศน์ ‘ตำแหน่งที่ตั้งทางชนชั้นที่มีความขัดแย้งภายใน’ ของ อีริค โอลินไรท์”. ใน วัฒนา สุกัณศีล และนันทวัฒน์   ฉัตรอุทัย (บก.). จับกระแสสังคมศาสตร์: รวมบทความวิชาการ 50 ปี สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. หน้า 91-110.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2558). “กลไกการควบคุมของ Empire กับการทวงคืน ‘สมบัติส่วนรวม’ของ Multitude”. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(2): 122-139.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ (2558). “วิธีวิทยาทางการเมืองของ Antonio Negri: ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมและการปฏิวัติของ Multitude,” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ปีที่ 27 ฉบับที่ 1/2558 (มกราคม-มิถุนายน 2558), หน้า 15-47.

บทความวิจัย

  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ และพัชรีพร เทพนำชัย. (2561). “แรงงานข้ามชาติในฐานะพลเมืองทางเศรษฐกิจ: อุปสรรคการเข้าถึงสวัสดิการสังคมในพื้นที่แม่สอด,” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 14(1) (มกราคม-มิถุนายน 2561), หน้า 99-118.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2560). “สถาบันความรู้ด้านไทยศึกษาและมานุษยวิทยาแบบอเมริกันในประเทศไทย.” ใน ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ บก., ความ(ไม่)เป็นสมัยใหม่: ความเปลี่ยนแปลงและความย้อนแย้งของไทย. กรุงเทพฯ: ศยาม. หน้า 147-166.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2559). “จักรวรรดิอเมริกันกับกำเนิดของสาขาวิชามานุษยวิทยาในประเทศไทย.” ใน วรารักษ์ เฉลิมพันธุศักดิ์ บก., ความเชื่อมโยงที่มากกว่ากายภาพ: พลังผลัก (ที่อ่อนเบา) ของมรดกทางประวัติศาสตร์และแง่มุมทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์อาเซียนและการระหว่างประเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. หน้า 121-149.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2559). “มานุษยวิทยาจักรวรรดิ: การสร้างหมู่บ้านชนบทไทยในยุคสงครามเย็น,” รัฐศาสตร์สาร, 37(3) (กันยายน-ธันวาคม 2559). หน้า 99-149.

ตำรา

  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2561).  เอกสารคำสอนวิชา 159304 สังคมวิทยาว่าด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.  ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 140 หน้า
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2560).  “หน่วยที่ 9: วัฒนธรรมทางการเมือง,” เอกสารการสอนชุดวิชาการเมืองเปรียบเทียบ. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, หน้า 9-1 – 9-57.
  • เก่งกิจ  กิติเรียงลาภ. (2559). “เศรษฐกิจและแรงงาน”. ใน วสันต์ ปัญญาแก้ว (บก.). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยา. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หน้า 75-87.
  • เก่งกิจ  กิติเรียงลาภ. (2559). “ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม”. ใน วสันต์ ปัญญาแก้ว (บก.). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยา. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หน้า 159-178.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 160413 อุตสาหกรรมกับแรงงาน. ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 116 หน้า.
  • หนังสือ
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2562). อัสดงคตมายา: ภาพลวงตาของโลกตะวันตกต่อธรรมชาติมนุษย์  The Western Illusion of Human Nature. กรุงเทพฯ: แปลจากหนังสือ: The Western Illusion of Human Nature สำนักพิมพ์: Illuminations Edition จำนวนหน้า: 270 หน้า พิมพ์ครั้งที่ 1 - ตุลาคม 2562 ISBN: 9786168215135.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2562). เขียนชนบทให้เป็นชาติ: กำเนิดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2561).  แผนที่สร้างชาติ: รัฐประชาชาติกับการทำแผนที่หมู่บ้านไทยในยุคสงครามเย็น. กรุงเทพฯ: Illuminations Editions. 160 หน้า.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2561). Conatus: ชีวิตและอำนาจควบคุมชีวิตในระบบทุนนิยมแห่งศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: Illuminations Editions. 304 หน้า.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2560).  เริ่มต้นใหม่จากจุดเริ่มต้น: ทฤษฎีมาร์กซิสต์ในศตวรรษที่ 21. เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 232 หน้า.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2560).  Perspective: ภววิทยาแบบมุมมองนิยมและความเป็นซับเจค. เชียงใหม่: TURN. 80 หน้า.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2560) Autonomia: ทุนนิยมความรับรู้ แรงงานอวัตถุ และการเมืองของการปฏิวัติ. กรุงเทพฯ: Illumination Editions. 304 หน้า.
การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2562). “วัวควายข้ามแดน : บทวิเคราะห์ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกของเส้นทางการค้าจากเมียนมาสู่จีน”.
  • การประชุมวิชาการด้านชายแดนศึกษาและการพัฒนาระหว่างประเทศ ครั้งที่ 2 “อาเซียนกับความ (ไม่) เชื่อมโยง : ความเสี่ยง การเปลี่ยนรูป และการอยู่ร่วมกัน”
  • หัวข้อเสวนา 03 “สินค้าเกษตรไทยในตลาดจีน” 5-7 กันยายน 2562 ห้องประชุม ชั้น 5 อาคาร พลเอก สำเภา ชูศรี มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย.