กลุ่มวิจัย

ภูมิภาคศึกษา จีน อินเดีย อาเซียน ชายแดนและการข้ามชาติศึกษา



เป็นกลุ่มวิจัยศึกษาประเด็นทุนนิยมจีนและชาวจีนโพ้นทะเลในอุษาคเนย์  การย้ายถิ่นของชาวจีนสู่ภาคเหนือของประเทศไทยและผลกระทบต่อความมั่นคงภาคการเกษตรและการท่องเที่ยว  นอกจากนี้ ยังมีการวิจัยในประเด็นการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของคน สินค้า แรงงาน รวมทั้งระบบสุขภาพและการศึกษา พลวัตการค้าชายแดนนอกระบบในเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนและภูมิภาคลุ่มน้ำโขง  เศรษฐศาสตร์การเมืองของเขตเศรษฐกิจพิเศษในภาคเหนือของลาว ชาติพันธุ์สัมพันธ์กับความมั่นคงในพื้นที่ชายแดน การสร้างสันติภาพและการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนไทย-เมียนมาร์  งานวิจัยกลุ่มนี้ ยังศึกษาถึงบรรทัดฐานทางจริยธรรมข้ามพรมแดน ความเป็นมนุษย์ และความมั่นคงของมนุษย์ในกัมพูชา การเสริมสร้างศักยภาพในการทำวิจัยและการสอนในด้านสังคมศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยมัณฑเลย์ 

ในส่วนของอินเดียศึกษา มีการศึกษาถึงเครือข่ายข้ามแดนและการสร้างอัตลักษณ์ของชุมชนชาวอินเดียในเชียงใหม่  ส่วนการวิจัยในกลุ่มประเทศอาเซียนและจีน มีงานวิจัยเรื่องการบริโภคละครโทรทัศน์ผ่านเว็บไซต์ และยังทำการสังเคราะห์งานวิจัยเพื่อพัฒนาการผลิตละครโทรทัศน์ของไทยต่อไป 

กลุ่มวิจัย
หัวข้อการวิจัย

  • Chinese capitalism and overseas Chinese in Southeast Asia
  • Transboundary migration of people, goods, labor
  • Informal border trade at special economic zone and the Mekong region
  • Peace process and economic development at Thai-Myanmar Border
  • Cross-border ethical norms
  • Transnational networks and identity construction of the Indian community in Chiang Mai

กลุ่มวิจัย
ผลงานตีพิมพ์

  • "The Sociology of Chinese Capitalism in Southeast Asia" New York: Palgrave Macmillan (2019)
  • "Developing Entrepreneurship and the Rise of China: Chinese Migrant Entrepreneurs in Tourism-related Businesses in Chiang Mai" In Santasombat, Yos (ed.) The Sociology of Chinese Capitalism in Southeast Asia (2019)
  • "ทุนนิยมจีนในอุษาคเนย์. เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน" ศูนย์จีน-อุษาคเนย์ศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2019)
  • "The sacred elephant in the room: Ganesha cults in Chiang Mai, Thailand" Anthropology Today (2018)
  • "ชายแดนกับความหลากหลายของระบบความเชื่อ การช่วงชิงพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์และการครอบงำเชิงสัญลักษณ์. เชียงใหม่"  ศูนย์ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2016)
  • "Impact of China's Rise on the Mekong Region" New Yok: Palgrave Macmillan (2015)

กลุ่มวิจัย
ศูนย์วิจัย
FullCluster - 5 | Social Sciences Chaingmai University